Skip site news

Site news

(ยังไม่มีข่าว)

Skip รายวิชาที่มีอยู่

รายวิชาที่มีอยู่

การเคลื่อนที่ในแนวตรง

             การเคลื่อนที่ของวัตถุที่เป็นแนวเส้นตรงซึ่งความสัมพันธ์ระหว่างความเร็ว เวลา ความเร่ง และระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ไปได้

o

หมายเหตุ : นักเรียนสามารถศึกษาได้ด้วยตนเองจากวิดีโอสื่อการสอนของบทเรียนนี้ คลิกที่หัวข้อเพื่อเข้าสู่วิดีโอสื่อการสอนของบทเรียน

การเคลื่อนที่แบบมีความเร่ง

b

หมายเหตุ : นักเรียนสามารถศึกษาได้ด้วยตนเองจากวิดีโอสื่อการสอนของบทเรียนนี้ คลิกที่หัวข้อเพื่อเข้าสู่วิดีโอสื่อการสอนของบทเรียน

การตกอย่างเสรี

        การตกอย่างเสรี (Free Falling) เป็นการ เคลื่อนที่ในแนวดิ่งภายใต้ความโน้มถ่วงของโลก หรือเป็นการเคลื่อนที่อย่างอิสระของวัตถุ โดยมีความเร่งคงที่เท่ากับ ความเร่งเนื่องจากแรงดึงดูดของโลก (g) มีทิศทางพุ่งลงสู่จุดศูนย์กลางของโลกมีค่าประมาณ 9.8 หรือ 10 เมตร/วินาที2


หมายเหตุ : นักเรียนสามารถศึกษาได้ด้วยตนเองจากวิดีโอสื่อการสอนของบทเรียนนี้ คลิกที่หัวข้อเพื่อเข้าสู่วิดีโอสื่อการสอนของบทเรียน

กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน

กฎข้อที่ 1 กฎของความเฉื่อย (Inertia)

   กฎข้อที่ 2 กฎของแรง (Force) 

   กฎข้อที่ 3 กฎของแรงปฏิกิริยา

   กฎความโน้มถ่วงแห่งเอกภพ


หมายเหตุ : นักเรียนสามารถศึกษาได้ด้วยตนเองจากวิดีโอสื่อการสอนของบทเรียนนี้ คลิกที่หัวข้อเพื่อเข้าสู่วิดีโอสื่อการสอนของบทเรียน


การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์

          การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไตล์(Motion of a Projectile) คือการเคลื่อนที่ของวัตถุเป็นแนวโค้งในกรณีที่วัตถุเคลื่อนที่อย่างเสรีด้วยแรงโน้มถ่วงคงที่ เช่น วัตถุเคลื่อนที่ไปในอากาศภายใต้แรงโน้มถ่วงของโลก ทางเดินของวัตถุจะเป็นรูปพาราโบลา


หมายเหตุ : นักเรียนสามารถศึกษาได้ด้วยตนเองจากวิดีโอสื่อการสอนของบทเรียนนี้ คลิกที่หัวข้อเพื่อเข้าสู่วิดีโอสื่อการสอนของบทเรียน

การเคลื่อนที่แบบวงกลม

          การเคลื่อนที่แบบวงกลม หมายถึง การเคลื่อนที่ของวัตถุเป็นวงกลมรอบศูนย์กลาง เกิดขึ้นเนื่องจากวัตถุที่กำลังเคลื่อนที่จะเดินทางเป็นเส้นตรงเสมอ แต่ขณะนั้นมีแรงดึงวัตถุเข้าสู่ศูนย์กลางของวงกลม เรียกว่า แรงเข้าสู่ศูนย์กลางการเคลื่อนที่ จึงทำให้วัตถุเคลื่อนที่เป็นวงกลมรอบศูนย์กลาง เช่น การโคจรของดวงจันทร์รอบโลก


หมายเหตุ : นักเรียนสามารถศึกษาได้ด้วยตนเองจากวิดีโอสื่อการสอนของบทเรียนนี้ คลิกที่หัวข้อเพื่อเข้าสู่วิดีโอสื่อการสอนของบทเรียน

การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์โมนิค

         การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกหรือการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (simple harmonic motion) เป็นการเคลื่อนที่ของวัตถุกลับไปมาซ้ำทางเดิมผ่านตำแหน่งสมดุล โดยมีขนาดของการกระจัดสูงสุดคงตัว เรียกว่า แอมพลิจูด ช่วงเวลาที่วัตถุเคลื่อนที่ครบ  1 รอบ เรียกว่า คาบ ( T ) และจำนวนรอบที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ใน 1 วินาที เรียกว่า ความถี่ f


หมายเหตุ : นักเรียนสามารถศึกษาได้ด้วยตนเองจากวิดีโอสื่อการสอนของบทเรียนนี้ คลิกที่หัวข้อเพื่อเข้าสู่วิดีโอสื่อการสอนของบทเรียน


การเคลื่อนที่แบบหมุน

       การเคลื่อนที่แบบหมุน (rotational motion) คือการเคลื่อนที่หมุนอยู่กบั ที่รอบแกนหมุน ตรึงแน่น หรืออาจหมุนรอบศูนยก์ลางมวล เช่นการหมุนของใบพดัของพดัลม , การหมุนของ ล้อจักรยาน เป็นต้น


หมายเหตุ : นักเรียนสามารถศึกษาได้ด้วยตนเองจากวิดีโอสื่อการสอนของบทเรียนนี้ คลิกที่หัวข้อเพื่อเข้าสู่วิดีโอสื่อการสอนของบทเรียน


งานและพลังงาน

       งาน (work) คือ  ผลของแรงที่กระทำต่อวัตถุแล้วทำให้วัตถุเคลื่อนที่ไปตามแนวราบ งานเป็นปริมาณที่สามารถคำนวณได้

       พลังงาน (energy) คือ  ความสามารถในการทำงานได้ของวัตถุหรือสสารต่าง ๆ   พลังงานสามารถทำให้สสารเกิดการเปลี่ยนแปลงได้  เช่น ทำให้สสารร้อนขึ้น เกิดการเคลื่อนที่  เปลี่ยนสถานะเป็นต้น


หมายเหตุ : นักเรียนสามารถศึกษาได้ด้วยตนเองจากวิดีโอสื่อการสอนของบทเรียนนี้ คลิกที่หัวข้อเพื่อเข้าสู่วิดีโอสื่อการสอนของบทเรียน

โมเมนตัม

         เป็นปริมาณการเคลื่อนที่ของวัตถุ ซึ่งปริมาณนี้จะบอกถึงความพยายามที่วัตถุจะเคลื่อนที่ไปข้างหน้าปริมาณโมเมนตัมที่กำหนดขึ้นนี้ มีขนาดมากน้อยเพียงใด ขึ้นอยู่กับมวลและความเร็วของวัตถุในขณะนั้น

หมายเหตุ : นักเรียนสามารถศึกษาด้วยตัวเองจากคลิปวิดีโอในแต่ละหัวข้อ
                                  mo


ศึกษาเกี่ยวกับปรากฏการณ์ตามธรรมชาติและหลักการพื้นฐานของไฟฟ้าสถิต ในเรื่องประจุไฟฟ้า กฎของคูลอมบ์  สนามไฟฟ้า ศักย์ไฟฟ้า ความจุไฟฟ้า และการนำไฟฟ้าสถิตไปใช้ประโยชน์ต่างๆ กระแสไฟฟ้า ความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์ไฟฟ้า  วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย  กฎของโอห์ม  สภาพต้านทานและสภาพนำไฟฟ้า  กำลังไฟฟ้าและการหาค่าพลังงานไฟฟ้าที่ใช้ในอุปกรณ์และเครื่องใช้ไฟฟ้า  เครื่องวัดทางไฟฟ้า  สนามแม่เหล็ก  หลักการของแม่เหล็กไฟฟ้า  หลักการของมอเตอร์  ไดนาโม  และหม้อแปลงไฟฟ้า 


1. โครงการสอน

2. แผนการสอน

3. เอกสารการสอน

       คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

       ไฟฟ้ากระแสสลับ

       ฟิสิกส์อะตอม

       ความต้านทานเชิงซ้อน



ศึกษาเกี่ยวกับไฟฟ้ากระแสสลับ  วงจรไฟฟ้าและองค์ประกอบของวงจรกระแสสลับ  การคำนวณหาค่าความต้านทานเชิงซ้อนและกำลังไฟฟ้าของวงจรกระแสสลับ  การแทรกสอด  การเลี้ยวเบนของคลื่นแสง การเกิดภาพจากการหักเหและการสะท้อนของแสง  การหาความสว่างของแรงจากแหล่งกำเนิดแสงชนิดต่าง ๆ  ฟิสิกส์อะตอม  วิวัฒนาการของแบบจำลองอะตอม  โครงสร้างอะตอมในยุคปัจจุบัน  ฟิสิกส์นิวเคลียร์  สารกัมมันตรังสีและการสลายตัวของสารกัมมันตรังสี  โครงสร้างนิวเคลียส  แรงนิวเคลียร์ พลังงานยึดเหนี่ยวในนิวเคลียส  ปฏิกิริยานิวเคลียร์ชนิดต่าง ๆ พลังงานที่เกี่ยวข้องกับการเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์แต่ละชนิด  ประโยชน์ที่ได้รับจากพลังงานนิวเคลียร์

        1.โครงสร้างรายวิชา

        2. หน้าปกใบงาน

        3. แบบฝึกทักษะ

             เนื้อหาเพิ่มเติม

                  ฟิสิกส์อะตอม

                  กลศาสตร์ควอนตัม

                  ไฟฟ้ากระแสสลับ