Activities for Students

Skip ประเภทของรายวิชา
Skip รายวิชาที่มีอยู่

รายวิชาที่มีอยู่

การแสดงประกอบการเรียนการสอนรายวิชาภาษาไทย ปีการศึกษา 2562 เรื่องขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา สอนโดย อาจารย์ ดร.บัวลักษณ์ เพชรงาม

            บทร้อยแก้ว บทร้อยกรอง วรรณคดี วรรณกรรม ตีความ แปลความ จับใจความ หลักการวิเคราะห์วิจารณ์การอ่านเบื้องต้น ธรรมชาติของภาษา การแสดงทรรศนะ โต้แย้ง และโน้มน้าวใจ  ประเมินคุณค่าด้านวรรณศิลป์ของวรรณคดีวรรณกรรม  เขียนเรียงความ  ฟัง  ดู  และพูด ในโอกาสต่างๆ  การแต่งบทร้อยกรองประเภทกาพย์ห่อโคลง

            ศึกษา รวบรวม  สรุปแนวคิดและแสดงความคิดเห็น  โดยใช้กระบวนการเรียนทางภาษา  กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด และกระบวนการกลุ่ม ฝึกทักษะการอ่าน การเขียน การฟัง ดู และการพูด สังเคราะห์ความรู้จากการอ่าน สื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์และแหล่งเรียนรู้ต่างๆ

            มีมารยาทและมีวิจารณญาณในการเลือกอ่าน เขียน ฟัง ดู และพูด มีนิสัยรักการอ่าน การเขียน เห็นคุณค่าของบทอาขยาน วรรณคดีวรรณกรรมไทย ในฐานะที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ใฝ่เรียนรู้ และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ และนำไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิต


คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาวรรณคดี  วรรณกรรม  การจับใจความสำคัญ การเขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด บันทึก ย่อความ และรายงานจากการอ่าน การอ่านตีความ วิเคราะห์ วิจารณ์ ประเมินคุณค่าในเรื่องที่อ่าน ฟัง และดู เขียนชีวประวัติ อัตชีวประวัติบุคคลสำคัญในวังสวนสุนันทา อธิบาย  ชี้แจง รายงาน และโครงงาน พูดในโอกาสต่าง ๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ โครงสร้างประโยคที่ซับซ้อน  คำทับศัพท์ ศัพท์บัญญัติ และคำภาษาต่างประเทศในกลุ่มประเทศอาเซียน แต่งโคลงสี่สุภาพ 

โดยการรวบรวมข้อมูล ตอบคำถาม สรุปแนวคิด และแสดงความคิดเห็น ใช้กระบวนการสร้างความตระหนัก กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด กระบวนการกลุ่ม ทักษะการทำงานแบบร่วมมือ กระบวนการวิจารณ์ กระบวนการทางภาษา กระบวนการปฏิบัติ และทักษะการอ่าน การเขียน การฟัง ดูและพูด

เพื่อให้มีมารยาทและมีวิจารณญาณในการเลือกเรื่องที่ฟัง ดู พูด มีนิสัยรักการอ่าน การเขียน ใฝ่เรียนรู้          เห็นคุณค่าของบทอาขยานและบทร้อยกรองในฐานะที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติ รักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ


คำอธิบายรายวิชา

บทร้อยแก้ว บทร้อยกรอง วรรณคดี วรรณกรรม ตีความ แปลความ จับใจความ หลักการวิเคราะห์วิจารณ์การอ่านเบื้องต้น ระดับของภาษา คำราชาศัพท์ ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับความคิด  เหตุผลกับภาษา  ประเมินคุณค่าด้านวรรณศิลป์ของวรรณคดีวรรณกรรม  เขียนรายงาน ฟัง  ดู  และพูด ในโอกาสต่างๆ  การแต่งฉันท์

ศึกษา รวบรวม สรุปแนวคิดและแสดงความคิดเห็น  โดยใช้กระบวนการเรียนทางภาษา  กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด และกระบวนการกลุ่ม ฝึกทักษะการอ่าน การเขียน การฟัง ดู และการพูด สังเคราะห์ความรู้จากการอ่านวรรณคดีวรรณกรรมพื้นบ้าน สื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์และแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ใช้ภูมิปัญญาทางภาษา พัฒนาศักยภาพในการคิด

มีมารยาทและมีวิจารณญาณในการเลือกอ่าน เขียน ฟัง ดู และพูด มีนิสัยรักการอ่าน การเขียน เห็นคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมไทย ในฐานะที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ใฝ่เรียนรู้ และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ และนำไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิต


รายวิชาภาษาไทย ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563

อาจารย์ ดร.บัวลักษณ์ เพชรงาม

รายวิชาภาษาไทย ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563

อาจารย์ ดร.บัวลักษณ์ เพชรงาม